“สติ”
ภาษาโลก = ภาษาบัญญัติ = ภาษาปุถุชน
(อปายภูมิ)
“สติ” แปลว่า ระลึก, ระลึกได้, ระลึกชอบ แม้ในพจนานุกรมฉบับพุทธศาสน์ ก็แปลทำนองนี้ ดังนั้น ถ้ารู้เพียงคำแปลก็อยู่ได้แค่ “ปุถุชน” เช่น เรียนหนังสือต้องมี“สติ” นั่งต้องมี“สติ” เดินต้องมี“สติ” กินต้องมี“สติ” เล่นกีฬาต้องมี“สติ” เล่นไพ่ต้องมี“สติ” เป็นต้น
“สติ” เป็น เจตสิก (เจตสิก มี ๕๒ ประกอบด้วย อัญญสมานเจตสิก ๑๓ อกุสลเจตสิก ๑๔ โสภณเจตสิก ๒๕)
โสภณเจตสิก ๒๕ ทำงานร่วมกับจิตที่เป็นกุสลอย่างเดียว (ไม่สามารถทำงานร่วมกับ อกุสลจิตได้) ประกอบด้วย โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ วิรตีเจตสิก ๓ อัปปมัญญาเจตสิก ๒ ปัญญินทรียเจตสิก ๑
“สติ” เป็นเจตสิก อยู่ในลำดับที่ ๒ ของโสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ซึ่งประกอบด้วย (สัทธาเจตสิก สติเจตสิก หิริเจตสิก โอตตัปปเจตสิก อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ตัตตรมัชฌัตตาเจตสิก กายปัสสัทธิเจตสิก จิตตปัสสัทธิเจตสิก กายลหุตาเจตสิก จิตตลหุตาเจตสิก กายมุทุตาเจตสิก จิตตมุทุตาเจตสิก กายกัมมัญญตาเจตสิก จิตตกัมมัญญตาเจตสิก กายปาคุญญตาเจตสิก จิตตปาคุญญตาเจตสิก กายุชุกตาเจตสิก จิตตุชุกตาเจตสิก)
“สติเจตสิก” เข้าได้กับกุสลจิต ๙๑ ได้แก่ กามาวจรโสภณจิต ๒๔ รูปาวจรจิต ๑๕ อรูปาวจรจิต ๑๒ โลกุตตรจิต ๔๐
เมื่อรู้อย่างนี้แล้วจึงไปดูความหมายของ “สติเจตสิก” ว่า “สติ” ภาษาโลก หรือภาษาปุถุชน แปลว่าอะไร แล้วจากนี้ไม่ต้องแปลแล้ว คือแปลเพื่อมาเป็นบรรทัดฐานที่เป็นภาษาไทย เพื่อกลับไปสู่ภาษาที่ใช้มาก่อน จากนั้นจึง “ดึงภาษาที่ใช้มาก่อนไปเป็นภาษาธรรม”
จะเห็นว่า “สติเป็นภาษาของพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า” เข้าได้กับมหากุสล ฌาน จนถึงพระอริยบุคคล ตั้งแต่พระโสดาบันจนถึงพระอรหันต์ เท่านั้น
ดังนั้น ถ้าเอามาใช้ว่า “เดินต้องมีสติ” แล้วบอกว่านี่เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า นั่นคือบอกว่า “สติ” นั้นเป็น “สติในภาษาของพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า” แสดงว่า
๒. ผู้เดินต้องได้อย่างน้อยปฐมฌานแล้ว
(อปายภูมิ)
“สติ” แปลว่า ระลึก, ระลึกได้, ระลึกชอบ แม้ในพจนานุกรมฉบับพุทธศาสน์ ก็แปลทำนองนี้ ดังนั้น ถ้ารู้เพียงคำแปลก็อยู่ได้แค่ “ปุถุชน” เช่น เรียนหนังสือต้องมี“สติ” นั่งต้องมี“สติ” เดินต้องมี“สติ” กินต้องมี“สติ” เล่นกีฬาต้องมี“สติ” เล่นไพ่ต้องมี“สติ” เป็นต้น
ภาษาธรรม = พุทธพจน์
(เป็นผลให้ “ผู้รู้ตาม” บรรลุพระอรหันต์ได้)
“สติ” เป็น เจตสิก (เจตสิก มี ๕๒ ประกอบด้วย อัญญสมานเจตสิก ๑๓ อกุสลเจตสิก ๑๔ โสภณเจตสิก ๒๕)
โสภณเจตสิก ๒๕ ทำงานร่วมกับจิตที่เป็นกุสลอย่างเดียว (ไม่สามารถทำงานร่วมกับ อกุสลจิตได้) ประกอบด้วย โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ วิรตีเจตสิก ๓ อัปปมัญญาเจตสิก ๒ ปัญญินทรียเจตสิก ๑
“สติ” เป็นเจตสิก อยู่ในลำดับที่ ๒ ของโสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ซึ่งประกอบด้วย (สัทธาเจตสิก สติเจตสิก หิริเจตสิก โอตตัปปเจตสิก อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ตัตตรมัชฌัตตาเจตสิก กายปัสสัทธิเจตสิก จิตตปัสสัทธิเจตสิก กายลหุตาเจตสิก จิตตลหุตาเจตสิก กายมุทุตาเจตสิก จิตตมุทุตาเจตสิก กายกัมมัญญตาเจตสิก จิตตกัมมัญญตาเจตสิก กายปาคุญญตาเจตสิก จิตตปาคุญญตาเจตสิก กายุชุกตาเจตสิก จิตตุชุกตาเจตสิก)
“สติเจตสิก” เข้าได้กับกุสลจิต ๙๑ ได้แก่ กามาวจรโสภณจิต ๒๔ รูปาวจรจิต ๑๕ อรูปาวจรจิต ๑๒ โลกุตตรจิต ๔๐
เมื่อรู้อย่างนี้แล้วจึงไปดูความหมายของ “สติเจตสิก” ว่า “สติ” ภาษาโลก หรือภาษาปุถุชน แปลว่าอะไร แล้วจากนี้ไม่ต้องแปลแล้ว คือแปลเพื่อมาเป็นบรรทัดฐานที่เป็นภาษาไทย เพื่อกลับไปสู่ภาษาที่ใช้มาก่อน จากนั้นจึง “ดึงภาษาที่ใช้มาก่อนไปเป็นภาษาธรรม”
จะเห็นว่า “สติเป็นภาษาของพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า” เข้าได้กับมหากุสล ฌาน จนถึงพระอริยบุคคล ตั้งแต่พระโสดาบันจนถึงพระอรหันต์ เท่านั้น
ดังนั้น ถ้าเอามาใช้ว่า “เดินต้องมีสติ” แล้วบอกว่านี่เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า นั่นคือบอกว่า “สติ” นั้นเป็น “สติในภาษาของพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า” แสดงว่า
๑. ผู้เดินต้องอยู่ในมหากุสลจิตอย่างเดียวแล้ว ไม่มีการฟุ้งซ่าน เพราะฟุ้งซ่าน คือ อุทธัจจเจตสิก ทำงาน ซึ่งอุทธัจจเจตสิก จะทำงานกับ อกุสลจิต เท่านั้น (เข้ากับมหากุสลจิตไม่ได้) ถ้าผู้สอนเป็นพระภิกษุก็เป็นการเริ่มอวดอุตตริมนุสสธัมม
๒. ผู้เดินต้องได้อย่างน้อยปฐมฌานแล้ว
๓. ผู้เดินนั้นได้อรูปฌานแล้ว
๔. ผู้เดินนั้นบรรลุเป็นพระอริยบุคคลแล้ว